หนุนลูกหลานพระยามังรายสองเมืองคึกคักประกาศก้อง เวียงป่าเป้ามีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำหมู่บ้าน
@ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๙ คือ วันแห่งการตั้ง สมาพันธ์ชาวพุทธเชียงราย โดยชาวเชียงราย เพื่อพิทักษ์ศาสนาของเชียงรายคือพระพุทธศาสนา ตาม ปากคาดโมเดล ที่กล้าประกาศ จังหวัดบึงกาฬมีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำจังหวัด
@ การประกาศตั้งสมาพันธ์ชาวพุทธเชียงรายเกืดขึ้นต่อหน้าคณะสงฆ์และพุทธศาสนิกชนชาวเชีบงรายจำนวนมาก ณ ที่แห่งหนึ่งซึ่งถือว่าเป็น "Landmark" แห่งหนึ่งของจังหวัด
@ เชียงรายเป็นจังหวัดหนึ่งที่ถูกหมายตาโดยศาสนาจากอาหรับแย่งชิงพื่นที่ โดยศาสนานั้นชอบอ้างสิทธืในความเป็นคนไทย สิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมมนูญ ดังนั้นเขาจะทำอะไรที่ไหนก็ได้ตามสิทธิทางกฏหมาย
@ ชาวเชียงรายเห็นว่ารัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธและกฏหมายไทยในยุคปัจจุบันคงจะรักษาศาสนาของบรรพบุรุษไว้คู่แผ่นดินเชียงรายไม่ได้แน่ จึงรวมตัวกันเองและประกาศก้องขอพิทักษ์ศาสนาของเชียงรายคือพระพุทธศาสนาไว้ให้ลูกหลานนานเท่านาน
@ ไม่น่าเชื่อว่าพระสงฆ์เชียงรายจะตื่นตัวกันมากในเรื่องนี้ พระครูรูปหนึ่งเล่าว่า..
เมื่อไม่กี่ปีมานี้ มีการพยายามกว้านซื้อที่ดืนสร้างมัสยิดในอำเภอ...ท่านเองคัดค้านและเรียกกำนันผู้ใหญ่บ้านพร้อมเจ้าหน้าที่ของรัฐมาชี้แจง สุดท้ายท่านประกาศว่า หากจะมีมัสยิดเกิดขึ้นในอำเภอนี้ให้ข้ามศพท่านไปก่อน
@ เชียงรายเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีการต่อต้านการสร้างมัสยิดสูงมาก เมื่อปีที่แล้วก็มีการระดมคนต่อต้านการที่จะสร้างมัสยิดริมแม่น้ำกก แม้ว่าจะถูกทหารขัดขวางก็ตาม
@ ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นจากการที่ระดับแกนนำศาสนาอิสลามเร่งเปิดเกมระดมสร้างมัสยิดเพื่อให้ปิดเกมได้ทันในรัฐบาลทหารชุดนี้ จึงทำให้ชาวพุทธรู้ตัวไหวทันและเห็นเป็นภัยที่ร้ายแรงต่อศาสนาของเขา
@ ชาวเชียงรายเหมือนคนเหนือมั่วไปคือมีนิสัยอ่อนโยนยึดมั่นในพระพุทธศาสนา
ต้อนรับคนแปลกหน้าด้วยมิตรไมตรี ยิ่งสำหรับเรื่องศาสนาแล้วเขามีทัศนคติที่ดีต่อทุกศาสนา แต่มาระยะไม่กี่ปีมานี้พวกเขาเริ่มไม่ไว้วางใจบางศาสนาที่ทำงานเชืงรุกอย่างหนักโดยหวังจะรีบปืดบัญชีการสร้างศาสนสถานของตนให้เร็วที่สุดในยุคที่รัฐบาลทหารเป็นใจ จึงทำให้กระแสการต่อต้านเกืดขึ้นสวนกลับอย่างแรงทุกเรื่อง
"ขอบคุณเขามากที่รีบรุก เราจึงตั้งรับได้ทัน ขอบคุณจริงๆ แต่ก็ระวังอยู่ว่าจะมาไม้ไหนอีก"
ชาวเชียงรายคนหนึ่งกล่าว พลางยกมือไหว้อนุสาวรีย์พ่อขุนมังรายมหาราช ผู้ฝากพระพุทธศาสนาไว้ให้เป็นศาสนาของชาวช้างหาย.
@ ทั้งหมดนี้ เบื้องหลังที่แข็งแกร่ง คือ สมาพันธ์ชาวพุทธภาคเหนือ นำโดย อ.มาณพ และสมาพันธ์ชาวพุทธเชียงใหม่ นำโดย ดร.อภิรมย์ และทีมงานที่แข็งแกร่งเดินทางมาร่วมประชุมร่วมคิดและให้คำปรึกษา ทุกคนควักเงินตัวเองมาเป็นค่าเดินทาง น้อมถวายเป็นพุทธบูชา
วันอังคารที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559
สมความปรารถนาด้วยอานิสงส์การทำความสะอาดพระเจดีย์ น่าลองทำดูนะคะ
ความสะอาดไม่เพียงแต่จะพัฒนาคนให้ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน ชื่อเสียงเกียรติยศเท่านั้น แม้ความสำเร็จอันสูงสุดในชีวิตคือการบรรลุธรรม ความสะอาด ก็สามารถพาเราไปถึงได้ ดังตัวอย่าง เช่น การบรรลุธรรมของพระปุสสเทวะ
พระปุสสเทวะ เป็นพระเถระแห่งกาลันทกาฬวิหาร ท่านเป็นผู้มีใจรักในการทำความสะอาดลานพระเจดีย์เป็นอย่างยิ่ง ท่านจะคอยปัดกวาด แล้วเกลี่ยพื้นทรายให้ราบเรียบงดงาม ท่านจะยืนมองภาพอันสะอาดตานั้น ด้วยใจที่เลื่อมใส และอาศัยจิตใจที่มีความเลื่อมใสนั้น เป็นพื้นฐานเจริญพุทธานุสติอย่างมีความสุข ท่านทำอย่างนี้เสมอมา
วันหนึ่งพญามารประสงค์จะแกล้งท่าน จึงแปลงร่างเป็นลิงดำ เอาขี้วัวมาทำเรี่ยราดให้ ลานพระเจดีย์สกปรก ท่านเห็นเข้าก็โกรธ เป็นผลให้ความปีติปราโมชเสื่อม แต่ด้วยใจรักในความสะอาด ท่านจึงไม่ยอมแพ้ ยังคงตั้งใจกวาดลานพระเจดีย์ต่อไป
วันที่สอง มารก็แปลงร่างเป็นวัวแก่ มาทำความสกปรกเช่นเดิม แม้วันที่สาม มารก็แปลงร่างมาเป็นคนแก่ขาเก เอาเท้าคุ้ยเขี่ยทรายไปทั่วลานพระเจดีย์ พระเถระไม่เคยเห็นคนลักษณะประหลาดเช่นนี้ มาก่อน จึงถามว่า “ท่านเป็นมารใช่ไหม”
มารจึงรับว่า “ใช่” พระเถระทราบดีว่า มารมีฤทธิ์มาก สามารถเนรมิตเป็นรูปต่าง ๆ ได้ จึงขอร้องให้ มารนั้นช่วยแปลงร่างเป็นพระพุทธเจ้าให้ดู
มารต้องการแสดงฤทธิ์ จึงแปลงร่างเป็น พระพุทธเจ้า ซึ่งก็สามารถทำได้เพียงคล้าย ๆ เท่านั้นเอง
เมื่อพระเถระ มองดูรูปที่มารเนรมิต ก็ คิดว่า “นี่ขนาดมารผู้เต็มไปด้วย ราคะ โทสะ โมหะ เมื่อแปลงกายเป็นพระพุทธเจ้ายังงาม ถึงเพียงนี้ แล้วถ้าเป็นพระพุทธเจ้าองค์จริงจะ งดงามสักเพียงใด”
พระเถระจึงเกิดความปีติ มีพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ และอาศัยความสงบใจนั้นเป็นพื้นฐานเจริญวิปัสสนา สำเร็จเป็นพระอรหันต์ ในขณะนั้นเอง
พระปุสสเทวะบรรลุธรรมได้อย่างง่ายดาย ก็เพราะทุกครั้งที่ท่านทำความสะอาดกวาด ลานพระเจดีย์ ใจของท่านย่อมได้รับการทำความสะอาดขัดเกลาไปด้วยใจที่สะอาดผ่องใส ย่อมเป็นใจที่พร้อมจะบรรลุธรรม
จึงอาจกล่าวได้ว่า พระปุสสเทวะสมความปรารถนาก้าวสู่ความสำเร็จอันสูงสุดในชีวิตได้ ด้วยอุปนิสัยรักความสะอาดนั่นเอง
สวนสัตว์->สถานที่แห่งนี้คือการทรมานสัตว์ เป็นบาป หรือเป็นสถานที่ช่วยเหลือสัตว์ เป็นที่ศึกษาผ่อนคลายของมนุษย์ขอรับ?
ได้เวลาเสวนาเรื่องราวที่เห็นกันอยู่โต้งๆตรงหน้า เกิดขึ้นจริงในสังคม
แต่เราต่างเนียมอายหรือไม่กล้าที่จะยกเอาเรื่องที่ว่านั้นมาเสวนากัน
สวนสัตว์ หรือ Zoo
มุมหนึ่ง นี่คือคุกของสัตว์นานาชนิดที่ไม่ได้ทำผิดอะไร พวกมันถูกบังคับให้มาอยู่ในพื้นที่อันจำกัด ถูกพาข้ามน้ำข้ามทวีป
มาอยู่ในสถานที่ๆหนึ่งที่มีรั้วรอบขอบชิด บางตัวโชคร้ายกว่าตัวอื่นๆที่ต้องไปอยู่ในสวนสัตว์ที่สกปรก ไม่ได้รับการดูแล
เจ็บป่วยซึมเศร้า เพราะอะไร? มนุษย์อาจจะอ้างว่าเพื่อไม่ให้พวกมันสูญพันธุ์ไป เพื่อให้มนุษย์ได้เห็นได้ศึกษาสัตว์ป่าตัวเป็นๆ
แต่แท้จริงแล้วคือมนุษย์เรานั้นไปทำลายไปแย่งที่อยู่อาศัยของพวกมัน ไปจับพวกมันมาแบบ Against their will
มุมหนึ่ง สัตว์บางชนิดหากอยู่ในธรรมชาติอาจจะถูกสัตว์ผู้ล่าตัวอื่นๆฆ่ากินอย่างเจ็บปวดทรมาน เจ็บป่วยมาก็ไม่มีสัตว์แพทย์คอยรักษา
ไหนจะเรื่องภัยพิบัติทางธรรมชาติที่อาจจะพรากชีวิตของพวกมันไปอีก ยังไม่นับเรื่องที่อาจถูกพวกพรานใจเหี้ยมล่าหรือจับมาทรมานเล่น
สัตว์บางสายพันธ์ุอาจจะสืบพันธ์ุยากขึ้นหรือไม่อาจออกลูกได้ตามปกติเพราะสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไป การได้มาอยู่ในสวนสัตว์
อาจจะเป็นชีวิตที่สุขสบายและอาจจะปลอดภัยมากกว่าอยู่เองตามธรรมชาติเสียด้วยซ้ำในอีกมุมหนึ่ง
ยังไม่นับเรื่องประโยชน์ที่มนุษย์อาจจะได้รับจากการวิจัยหรือเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์เหล่านี้
รวมถึงเรื่องสถานที่ท่องเที่ยวที่มนุษย์เช่นชาวไทยสามารถไปดูม้าลายตัวเป็นๆได้โดยไม่ต้องบินไปถึงแอฟริกา
หรือไม่ต้องไปยืนดูฝูงม้าลายตามศาลที่คนเอาไปแก้บนกัน
ในมุมของท่าน
สวนสัตว์นั้นคือคุกของเหล่าสัตว์ป่าที่มารับโทษแบบบาปบริสุทธิ์ ระบบสวนสัตว์คือระบบบาป?
หรือสวนสัตว์คือแหล่งที่อยู่ที่สะดวกสบายมีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าและปลอดภัยกว่าอยู่เองตามธรรมชาติที่ทรุดโทรมและเสี่ยงต่ออันตราย?
ด้วยรักและอยากเห็นม้าลายในทุงหญ้าซาวันน่า
กอดแมว
แต่เราต่างเนียมอายหรือไม่กล้าที่จะยกเอาเรื่องที่ว่านั้นมาเสวนากัน
สวนสัตว์ หรือ Zoo
มุมหนึ่ง นี่คือคุกของสัตว์นานาชนิดที่ไม่ได้ทำผิดอะไร พวกมันถูกบังคับให้มาอยู่ในพื้นที่อันจำกัด ถูกพาข้ามน้ำข้ามทวีป
มาอยู่ในสถานที่ๆหนึ่งที่มีรั้วรอบขอบชิด บางตัวโชคร้ายกว่าตัวอื่นๆที่ต้องไปอยู่ในสวนสัตว์ที่สกปรก ไม่ได้รับการดูแล
เจ็บป่วยซึมเศร้า เพราะอะไร? มนุษย์อาจจะอ้างว่าเพื่อไม่ให้พวกมันสูญพันธุ์ไป เพื่อให้มนุษย์ได้เห็นได้ศึกษาสัตว์ป่าตัวเป็นๆ
แต่แท้จริงแล้วคือมนุษย์เรานั้นไปทำลายไปแย่งที่อยู่อาศัยของพวกมัน ไปจับพวกมันมาแบบ Against their will
มุมหนึ่ง สัตว์บางชนิดหากอยู่ในธรรมชาติอาจจะถูกสัตว์ผู้ล่าตัวอื่นๆฆ่ากินอย่างเจ็บปวดทรมาน เจ็บป่วยมาก็ไม่มีสัตว์แพทย์คอยรักษา
ไหนจะเรื่องภัยพิบัติทางธรรมชาติที่อาจจะพรากชีวิตของพวกมันไปอีก ยังไม่นับเรื่องที่อาจถูกพวกพรานใจเหี้ยมล่าหรือจับมาทรมานเล่น
สัตว์บางสายพันธ์ุอาจจะสืบพันธ์ุยากขึ้นหรือไม่อาจออกลูกได้ตามปกติเพราะสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไป การได้มาอยู่ในสวนสัตว์
อาจจะเป็นชีวิตที่สุขสบายและอาจจะปลอดภัยมากกว่าอยู่เองตามธรรมชาติเสียด้วยซ้ำในอีกมุมหนึ่ง
ยังไม่นับเรื่องประโยชน์ที่มนุษย์อาจจะได้รับจากการวิจัยหรือเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์เหล่านี้
รวมถึงเรื่องสถานที่ท่องเที่ยวที่มนุษย์เช่นชาวไทยสามารถไปดูม้าลายตัวเป็นๆได้โดยไม่ต้องบินไปถึงแอฟริกา
หรือไม่ต้องไปยืนดูฝูงม้าลายตามศาลที่คนเอาไปแก้บนกัน
ในมุมของท่าน
สวนสัตว์นั้นคือคุกของเหล่าสัตว์ป่าที่มารับโทษแบบบาปบริสุทธิ์ ระบบสวนสัตว์คือระบบบาป?
หรือสวนสัตว์คือแหล่งที่อยู่ที่สะดวกสบายมีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าและปลอดภัยกว่าอยู่เองตามธรรมชาติที่ทรุดโทรมและเสี่ยงต่ออันตราย?
ด้วยรักและอยากเห็นม้าลายในทุงหญ้าซาวันน่า
กอดแมว
============
หน้าที่ของสวนสัตว์
1. จัดแสดงเพื่อให้คนทั่วไปได้รับชม สัตว์ย่อมมีความเครียด แต่มันก็ปรับตัวได้ และถูกดูแลเป็นอย่างดี มีขั้นตอนมากมายกว่าจะนำสัตว์ออกแสดงได้ไม่ใช่จู่ ๆ บินมาปั๊บใส่คอกโชว์เลย
2. เพื่อการอนุรักษ์ มีสัตว์หลายกลุ่มเลยถูกจัดเป็นสัตว์ที่กำลังถูกคุกคามและใกล้สูญพันธุ์ ทั้งจากเนื้อมือมนุษย์เอง และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ดังนั้นเพื่อการดำรงอยู่ของสัตว์ต่อคนรุ่นหลัง การอนุรักษ์คือหน้าที่ของสวนสัตว์อย่างหนึ่ง
3. เพื่อศึกษา วิจัย และขยายพันธุ์ ซึ่งทำให้โอกาสการรอดชีวิตไม่ว่าจากการเกิด การอยู่ในธรรมชาติ หรือจากโรคภัย มีมากขึ้น โดยเฉพาะสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์ ยกตัวอย่าง ขยายพันธุ์หมีแพนด้า สส.เชียงใหม่ นั่นก็ฝีมือคนไทย
บางทีอย่าไปคิดแทนสัตว์ครับ อย่าเอาความรู้สึกที่เราใช้กับคนไปประเมินกับสัตว์ เพราะพฤติกรรมคนกับสัตว์ย่อมแตกต่างกันอยู่แล้ว
1. จัดแสดงเพื่อให้คนทั่วไปได้รับชม สัตว์ย่อมมีความเครียด แต่มันก็ปรับตัวได้ และถูกดูแลเป็นอย่างดี มีขั้นตอนมากมายกว่าจะนำสัตว์ออกแสดงได้ไม่ใช่จู่ ๆ บินมาปั๊บใส่คอกโชว์เลย
2. เพื่อการอนุรักษ์ มีสัตว์หลายกลุ่มเลยถูกจัดเป็นสัตว์ที่กำลังถูกคุกคามและใกล้สูญพันธุ์ ทั้งจากเนื้อมือมนุษย์เอง และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ดังนั้นเพื่อการดำรงอยู่ของสัตว์ต่อคนรุ่นหลัง การอนุรักษ์คือหน้าที่ของสวนสัตว์อย่างหนึ่ง
3. เพื่อศึกษา วิจัย และขยายพันธุ์ ซึ่งทำให้โอกาสการรอดชีวิตไม่ว่าจากการเกิด การอยู่ในธรรมชาติ หรือจากโรคภัย มีมากขึ้น โดยเฉพาะสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์ ยกตัวอย่าง ขยายพันธุ์หมีแพนด้า สส.เชียงใหม่ นั่นก็ฝีมือคนไทย
บางทีอย่าไปคิดแทนสัตว์ครับ อย่าเอาความรู้สึกที่เราใช้กับคนไปประเมินกับสัตว์ เพราะพฤติกรรมคนกับสัตว์ย่อมแตกต่างกันอยู่แล้ว
=======
วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ชาติแรกของ "พระนางพิมพา" พบ "พระโพธิสัตว์" นางอธิษฐานอย่างไร ? จึงเกิดมาพบกันทุกชาติ
ได้อ่านบทความนี้แล้ว จึงเข้าใจถึงคำว่า "ผลที่ได้รับ" ทุกอย่างย่อมมี "เหตุ" เป็นปัจจัยก่อให้เกิด.....
ชาติแรกของพระนางพิมพา พบกับ พระโพธิสัตว์ (สุเมธฤาษี) ยุคสมเด็จพระทีปังกรพุทธเจ้า และชาติสุดท้ายบรรลุพระอรหันตเถรีเข้าสู่นิพพาน สมัยพุทธกาลนี้ ที่เพิ่งผ่านมา
พระนางพิมพาพบพระโพธิสัตว์ และอธิษฐานจิต ครั้งแรก ให้ได้เป็นสามีภรรยาและช่วยเหลือกันตลอดไปต่อสมเด็จพระพุทธทีปังกรพุทธเจ้า (พระโพธิสัตว์เป็นสุเมธฤาษี)
พระนางพิมพาได้ตั้งความปรารถนาเป็นพระสาวิกา ตั้งแต่สมัยเมื่อ ๔ อสงไขยล่วงมาแล้ว โดยสมัยนั้น พระนางได้เกิดเป็นกุมารีนางหนึ่ง ซึ่งเป็นสาวแรกรุ่นโสภาอายุได้ ๑๖ ปี เป็นบุตรีของคฤหบดีชาวปัจจันตคาม วันนั้นเมื่อมีการประกาศว่า ให้มหาชนช่วยกันแผ้วถางทางเพื่อรับเสด็จ สมเด็จพระทีปังกรบรมโลกนาถเจ้า ก็มีศรัทธามาร่วมถากทางกับชาวบ้านปัจจันตคามทั้งหลายด้วย
ครั้นได้เห็น สุเมธฤาษี ผู้มีฤทธิ์เหาะมาจากป่าใหญ่ มหาชนพากัน ชี้มือบอกฤาษีผู้ขออนุญาตให้ไปทำทาง ณ บริเวณที่เต็มไปด้วยโคลนเลน ซึ่งเป็นสถานที่จะทำให้สำเร็จได้ยากลำบาก แต่ฤาษีผู้มีฤทธิ์ ก็รับทำจำยอมแต่โดยดี เจ้าสุมิตตากุมารี ก็มีความเห็นใจแลสงสารท่านฤาษี จึงช่วยแผ้วถางและขนดินจากที่อื่นมาเทถมในที่นั้นด้วยใจภักดี ต่อฤาษีผู้ศักดิ์สิทธิ์มีฤทธิ์เหาะเหิรเดินอากาศได้อยู่ไปมา
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทีปังกรบรมศาสดา ทรงประกาศแก่ปวงมหาชนว่า สุเมธฤาษีจักได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในอนาคตกาลอีกนานหนักหนา สุมิตตากุมารีก็บังเกิดความยินดีปรีดา รีบวิ่งไปแสวงหาดอกไม้ ได้ดอกอุบลสดใหม่มา ๘ ดอก แล้วจึงซบกายถวายบังคมลงตรงเบื้องพระพักตร์กระทำการสักการะบูชาสมเด็จพระทีปังกรสัมมาสัมพุทธเจ้า กล่าววาจาตั้งปณิธานตามความประสาใจของนางในขณะนั้นว่า
“ข้าแต่พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐเป็นพระบรมโลกุตมาจารย์ ด้วยเดชาอานิสงส์ที่ข้าพระบาทได้กระทำสักการะบูชาแก่สมเด็จพระพุทธองค์เจ้าในกาลบัดนี้ ขอให้สุเมธฤาษี จงเป็นสามีของข้าพระบาทสมใจปรารถนาในภายภาคหน้าด้วยเถิด
สุเมธฤาษีโพธิสัตว์ผู้ซึ่งได้รับคำพยากรณ์จากพระโอษฐ์ แห่งองค์สมเด็จพระทีปังกรเจ้า ว่าจักได้สำเร็จซึ่งพระพุทธภูมิในอนาคตภายภาคหน้า ครั้นกุมารีงามโสภาชาวปัจจันตคาม เจ้ามาตั้งความปรารถนาและจะได้ตนเป็นสามี เฉพาะพระพักตร์สมเด็จพระทีปังกรพุทธเจ้าก็พลันสะดุ้งตกใจเป็นอันมาก
ทั้งนี้ก็เพราะว่า จะได้มีตัณหาความยากได้ใคร่ดีในนางกุมารีน้อยแม้แต่สักนิดหนึ่งก็หามิได้ ดังนั้น ท่านสุเมธฤาษีผู้มีฤทธิ์จึงกล่าวห้ามปรามความปรารถนาแห่งเจ้าสุมิตตากุมารีขึ้นว่า
สุมิตตากุมารีสาวงามแห่งปัจจันตคาม ซึ่งมีความปรารถนาในใจอันมั่นคงแรงกล้า แม้จะถูกฤาษีออกวาจากล่าวห้ามปรามฉะนี้เป็นหลายหนหลายครั้ง นางก็ยังยึดมั่นอยู่ในความปรารถนาดั้งเดิม หาแปรไปเป็นอื่นไม่
สมเด็จพระทีปังกรบรมศาสดาจารย์ พระองค์ผู้ทรงมีพระญาณอันไม่ขัดข้องในทุกกรณี จึงตรัสแก่สุเมธดาบสว่า
สุเมธฤาษีได้ฟังองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็มีความเลื่อมใสเชื่อฟังด้วยดี รับพระพุทธฎีกา สาธุ สาธุ สาธุ
สมัยพุทธกาลนี้
ปรากฏว่าเป็นเวลามากมายหลายชาติทีเดียว ในกาลครั้งยังต้องท่องเที่ยวเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏสงสาร เพื่ออบรมบ่มพระสัมโพธิญาณพุทธบารมีอยู่นี้ ที่อดีตสุเมธฤาษีได้เป็นสามีร่วมรักกับเจ้าสุมิตตากุมารี ตามแรงอธิษฐานของนาง เมื่อครั้งถวายดอกอุบล ๘ ดอก แด่สมเด็จพระมิ่งมงกุฎทีปังกรพุทธเจ้า
บางคราวเกิดเป็นมนุษย์ทั้งสองก็ต้องเป็นคู่สามีภริยากัน แม้บางคราวจะเกิดในกำเนิดสัตว์เดียรฉาน ก็ได้เป็นคู่สู่สมภิรมย์รักไม่พรากจากกันไป ตลอดกาลอันแสนจะยาวนานถึง ๔ อสงไขยกับเศษอีก ๑๐๐,๐๐๐ มหากัป นี้
ชาติสุดท้าย สุเมธฤาษีและสุมิตตากุมารี บุรุษสตรีซึ่งเป็นสามีภรรยาคู่สร้างกันมาแต่ปางบรรพ์ สุดจะนับประมาณชาติที่เกิดได้นั้น ต่างก็พากันมาบังเกิดในมนุษยโลกเรานี้ โดยสุเมธฤาษีได้มาอุบัติในขัตติยะตระกูล ณ กรุงกบิลพัสดุ์บุรี ทรงพระนามว่า เจ้าฟ้าชายอังคีรสราชกุมาร หรืออีกพระนามหนึ่งว่า เจ้าชายสิทธัตถะราชกุมาร
ส่วนสุมิตตากุมารีสาวโสภาแห่งปัจจันตคาม ได้มาบังเกิดในขัตติยะตระกูล ณ กรุงเทวทหนคร ได้เป็นเอกอัครมเหสีของเจ้าชายสิทธัตถะราชกุมาร แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระพิมพายโสธราเทวี
เสด็จโปรดพระญาติ แต่พระนางยโสธรา ไม่ยอมมาฟังธรรมเพราะน้อยใจ
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทราบว่า พระนางพิมพาเป็นคู่บารมีกันมาตั้งแต่ต้นจนอวสาน การแสดงพระธรรมเทศนาโปรดหมู่พระประยูรญาติ ปรากฏว่าพระนางพิมพาไม่ยอมไปฟังเทศน์ มีคนไปกราบทูลให้ทรงทราบพระนางก็ตรัสว่า
“ในเมื่อพระลูกเจ้าเสด็จมาถึงประเทศนี้แล้ว และองค์สมเด็จพระประทีปแก้วก็ทรงรู้จักตำหนักนี้ดี เคยอยู่มาก่อน ถ้าองค์สมเด็จพระชินวรไม่เสด็จมาโปรดเราถึงที่ เราก็ไม่ไป”
เพราะอาศัยน้ำใจที่พระนางมีความรัก ทำทุกสิ่งทุกอย่างที่พระพุทธเจ้า พระนางก็เกิดการน้อยใจว่า ตำหนักนี้เคยอยู่ ทำไมองค์สมเด็จพระบรมครูจึงไม่มาเทศน์โปรดสอนเราถึงตำหนัก เมื่อท่านไม่มาเราก็ไม่ไป
องค์สมเด็จพระบรมศาสดาทรงรู้ จึงทรงตั้งใจไปโปรดพระนางพิมพาถึงตำหนัก การไปคราวนี้ พระนางพิมพาอาศัยที่มีความรักความอาลัยอยู่เดิม จะเข้ามากอดที่ขาของพระองค์แล้วก็พร่ำรำพันถึงความทุกข์และความรักในอดีต เป็นอันว่าผลที่ติดตามมาถึงสี่อสงไขยกับแสนกัปจะไม่เกิดผล
เพราะจิตใจของตถาคตไม่มีกิเลสแล้ว จึงได้ทรงชวนพระโมคคัลลาน์และพระสารีบุตร ๒ ท่านไปด้วย คือให้ทั้งสองท่านรับทราบไว้ด้วย จะได้ช่วยแก้ความเข้าใจผิดของคนต่อภายหลัง ขณะที่เดินไปจึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า
“พระสารีบุตร และ พระโมคคัลลาน์ ถ้าเข้าไปในตำหนักของพระนางพิมพาแล้ว ถ้าพระนางพิมพาจะมากอดขาตถาตค ขอเธอทั้งสองจงอย่าห้าม และขอเธอจงเข้าใจว่า เวลานี้จิตใจของตถาคต ไม่มีอะไรแล้ว แต่ทว่ามีความห่วงใยในพระนางพิมพา ถ้าเธอทั้งสองห้าม เธอจะอกแตกตาย เพราะการบำเพ็ญบารมีมาในกาลก่อน เธอไม่ได้ทำเอง มีหน้าที่อย่างเดียวคือโมทนาความดีที่ตถาคตทำ ฉะนั้นการบรรลุมรรคผลของพระนางพิมพาจึงต้องเนื่องด้วยตถาคต จะหาทางช่วยตนเองให้บรรลุมรรคผลนั้นย่อมเป็นไปไม่ได้”
กล่าวถึงสมเด็จพระนางพิมพาราชเทวี ซึ่งทรงคุณวิเศษในพระพุทธศาสนาเป็นพระโสดาบันอริยบุคคล และทรงเป็นพระราชชนนีของพระราหุลอรหันต์ วันหนึ่งพระนาง
ทรงเห็นคุณแห่งบรรพชา จึงเสด็จ พานางศักยราชนารีกับทั้งบริวารเสด็จคมนาการออกจากรุงกบิลพัสดุ์ไปสู่เมืองสาวัตถี ครั้งถึงจึงกราบสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทูลขอบรรพชา ก็ทรงพระกรุณาโปรดประทานภิกษุณีอุปสมบทกรรมด้วยอัฏฐครุธรรม ๘ ประการ พร้อมกับนารีที่เป็นบริวารสมตามความปรารถนา
รับกรรมฐานจากพระพุทธเจ้าและเจริญวิปัสสนายังไม่ทันถึง ๑๕ วัน ก็บรรลุพระอรหัต พระนางเป็นผู้ช่ำชองชำนาญในอภิญญาทั้งหลายระลึกชาติได้ถึงอสงไขยหนึ่งยิ่งด้วยแสนกัป โดยการระลึกถึงเพียงครั้งเดียว
ภายหลัง พระศาสดาประทับนั่ง ณ พระเชตวันวิหาร เมื่อทรงสถาปนาพวก ภิกษุณีไว้ในตำแหน่งต่าง ๆ ตามลำดับ จึงทรงสถาปนาพระภัททากัจจานาเถรีไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะผู้เลิศกว่า ภิกษุณีทั้งหลายผู้ได้บรรลุอภิญญาใหญ่ คำว่า "ได้อภิญญาใหญ่" นั้น หมายถึงพระสาวกผู้ที่ได้อภิญญาและสามารถระลึกชาติได้อสงไขยหนึ่งกับอีกแสนกัป ในขณะที่พระสาวกผู้ที่มิได้อภิญญาใหญ่นั้นสามารถระลึกชาติได้ไม่เกินแสนกัปเท่านั้น
ในสมัยพระพุทธเจ้าองค์ใดพระองค์หนึ่งนั้น จะมีผู้ที่สำเร็จอภิญญาใหญ่ได้เพียง ๔ ท่านเท่านั้น ในสมัยของพระพุทธเจ้าของพวกเรานี้ ผู้ที่สำเร็จอภิญญาใหญ่ ๔ ท่านนั้นก็คือ คือ พระสารีบุตรเถระ พระมหาโมคคัลลานะเถระ พระพากุลเถระ และ พระนางภัททากัจจานาเถรี (พระนางยโสธราพิมพา) สามารถระลึกชาติได้ประมาณเท่านี้.
พระภัททากัจจานาเถรี หรือพระยโสธราเถรี ได้เข้านิพพานเมื่ออายุ ๗๘ พรรษา ก่อนพระพุทธเจ้า ๒ ปี
ชาติแรกของพระนางพิมพา พบกับ พระโพธิสัตว์ (สุเมธฤาษี) ยุคสมเด็จพระทีปังกรพุทธเจ้า และชาติสุดท้ายบรรลุพระอรหันตเถรีเข้าสู่นิพพาน สมัยพุทธกาลนี้ ที่เพิ่งผ่านมา
พระนางพิมพาพบพระโพธิสัตว์ และอธิษฐานจิต ครั้งแรก ให้ได้เป็นสามีภรรยาและช่วยเหลือกันตลอดไปต่อสมเด็จพระพุทธทีปังกรพุทธเจ้า (พระโพธิสัตว์เป็นสุเมธฤาษี)
พระนางพิมพาได้ตั้งความปรารถนาเป็นพระสาวิกา ตั้งแต่สมัยเมื่อ ๔ อสงไขยล่วงมาแล้ว โดยสมัยนั้น พระนางได้เกิดเป็นกุมารีนางหนึ่ง ซึ่งเป็นสาวแรกรุ่นโสภาอายุได้ ๑๖ ปี เป็นบุตรีของคฤหบดีชาวปัจจันตคาม วันนั้นเมื่อมีการประกาศว่า ให้มหาชนช่วยกันแผ้วถางทางเพื่อรับเสด็จ สมเด็จพระทีปังกรบรมโลกนาถเจ้า ก็มีศรัทธามาร่วมถากทางกับชาวบ้านปัจจันตคามทั้งหลายด้วย
ครั้นได้เห็น สุเมธฤาษี ผู้มีฤทธิ์เหาะมาจากป่าใหญ่ มหาชนพากัน ชี้มือบอกฤาษีผู้ขออนุญาตให้ไปทำทาง ณ บริเวณที่เต็มไปด้วยโคลนเลน ซึ่งเป็นสถานที่จะทำให้สำเร็จได้ยากลำบาก แต่ฤาษีผู้มีฤทธิ์ ก็รับทำจำยอมแต่โดยดี เจ้าสุมิตตากุมารี ก็มีความเห็นใจแลสงสารท่านฤาษี จึงช่วยแผ้วถางและขนดินจากที่อื่นมาเทถมในที่นั้นด้วยใจภักดี ต่อฤาษีผู้ศักดิ์สิทธิ์มีฤทธิ์เหาะเหิรเดินอากาศได้อยู่ไปมา
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทีปังกรบรมศาสดา ทรงประกาศแก่ปวงมหาชนว่า สุเมธฤาษีจักได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในอนาคตกาลอีกนานหนักหนา สุมิตตากุมารีก็บังเกิดความยินดีปรีดา รีบวิ่งไปแสวงหาดอกไม้ ได้ดอกอุบลสดใหม่มา ๘ ดอก แล้วจึงซบกายถวายบังคมลงตรงเบื้องพระพักตร์กระทำการสักการะบูชาสมเด็จพระทีปังกรสัมมาสัมพุทธเจ้า กล่าววาจาตั้งปณิธานตามความประสาใจของนางในขณะนั้นว่า
“ข้าแต่พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐเป็นพระบรมโลกุตมาจารย์ ด้วยเดชาอานิสงส์ที่ข้าพระบาทได้กระทำสักการะบูชาแก่สมเด็จพระพุทธองค์เจ้าในกาลบัดนี้ ขอให้สุเมธฤาษี จงเป็นสามีของข้าพระบาทสมใจปรารถนาในภายภาคหน้าด้วยเถิด
"ข้าแต่พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ บุญกุศลใดๆ อันเกิดจากพลีกำลังกายถากถางทางเพื่อเสด็จพระพุทธดำเนินในครั้งนี้ก็ดี และบุญกุศลที่ได้ถวายสักการบูชาสมเด็จพระทศพลด้วยดอกอุบลอันงามนี้ ก็ดี ขอให้สุเมธฤาษีนี้จงได้เป็นสามีร่วมรักแห่งข้าพระบาทผู้มีวาสนาน้อย ในอนาคตด้วยเถิด”
สุเมธฤาษีโพธิสัตว์ผู้ซึ่งได้รับคำพยากรณ์จากพระโอษฐ์ แห่งองค์สมเด็จพระทีปังกรเจ้า ว่าจักได้สำเร็จซึ่งพระพุทธภูมิในอนาคตภายภาคหน้า ครั้นกุมารีงามโสภาชาวปัจจันตคาม เจ้ามาตั้งความปรารถนาและจะได้ตนเป็นสามี เฉพาะพระพักตร์สมเด็จพระทีปังกรพุทธเจ้าก็พลันสะดุ้งตกใจเป็นอันมาก
ทั้งนี้ก็เพราะว่า จะได้มีตัณหาความยากได้ใคร่ดีในนางกุมารีน้อยแม้แต่สักนิดหนึ่งก็หามิได้ ดังนั้น ท่านสุเมธฤาษีผู้มีฤทธิ์จึงกล่าวห้ามปรามความปรารถนาแห่งเจ้าสุมิตตากุมารีขึ้นว่า
“ดูกร เจ้าซึ่งมีพักตร์อันเจริญ อันความปรารถนาแห่งเจ้าที่จะได้เราเป็นสามีนี้ แม้จะเป็นความปรารถนาที่ดี แต่เราจะได้ชอบใจไปด้วยแม้แต่สักนิดหนึ่งก็หามิได้ ขอเจ้าจงถอนความปรารถนาเช่นนั้นเสียในกาลบัดนี้ ขอเจ้าอย่าพึงกระทำความปรารถนาอย่างนั้นเลย จงปรารถนาอย่างอื่นเถิด”
สุมิตตากุมารีสาวงามแห่งปัจจันตคาม ซึ่งมีความปรารถนาในใจอันมั่นคงแรงกล้า แม้จะถูกฤาษีออกวาจากล่าวห้ามปรามฉะนี้เป็นหลายหนหลายครั้ง นางก็ยังยึดมั่นอยู่ในความปรารถนาดั้งเดิม หาแปรไปเป็นอื่นไม่
สมเด็จพระทีปังกรบรมศาสดาจารย์ พระองค์ผู้ทรงมีพระญาณอันไม่ขัดข้องในทุกกรณี จึงตรัสแก่สุเมธดาบสว่า
“ดูกร สุเมธดาบสเอ๋ย ตัวท่านอย่าได้ห้ามซึ่งความปรารถนาแห่งกุมารีน้อยนี้เลย ด้วยว่าในอนาคตกาลภายหน้า เมื่อตัวท่านบำเพ็ญพุทธบารมีธรรมเพื่อบ่มพระบรมโพธิญาณให้เต็มเปี่ยมบริบูรณ์นั้น กุมารีมีจิตมั่นคงนี้จักเป็นที่พึ่งอาศัยของท่าน และท่านจักได้บำเพ็ญบารมีเป็นภริยาทานบริจาคในกาลภายหน้าได้ ก็โดยอาศัยกุมารีนี้แลเป็นปัจจัยสำคัญ
ดูกร สุเมธดาบสเอ๋ย ถึงเราตถาคตนี้เมื่อยังสร้างพระบารมีท่องเที่ยวอยู่ในกระแสวัฏสงสาร ได้อาศัยสตรีภาพจึงมีโอกาสบำเพ็ญภริยาทานเหมือนกัน เพราะฉะนั้นขอท่านจงอย่าห้ามความปรารถนาแห่งนาง จงปล่อยให้เป็นไปตามประสาแห่งใจนางในกาลบัดนี้เถิด”
ดูกร สุเมธดาบสเอ๋ย ถึงเราตถาคตนี้เมื่อยังสร้างพระบารมีท่องเที่ยวอยู่ในกระแสวัฏสงสาร ได้อาศัยสตรีภาพจึงมีโอกาสบำเพ็ญภริยาทานเหมือนกัน เพราะฉะนั้นขอท่านจงอย่าห้ามความปรารถนาแห่งนาง จงปล่อยให้เป็นไปตามประสาแห่งใจนางในกาลบัดนี้เถิด”
สุเมธฤาษีได้ฟังองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็มีความเลื่อมใสเชื่อฟังด้วยดี รับพระพุทธฎีกา สาธุ สาธุ สาธุ
สมัยพุทธกาลนี้
ปรากฏว่าเป็นเวลามากมายหลายชาติทีเดียว ในกาลครั้งยังต้องท่องเที่ยวเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏสงสาร เพื่ออบรมบ่มพระสัมโพธิญาณพุทธบารมีอยู่นี้ ที่อดีตสุเมธฤาษีได้เป็นสามีร่วมรักกับเจ้าสุมิตตากุมารี ตามแรงอธิษฐานของนาง เมื่อครั้งถวายดอกอุบล ๘ ดอก แด่สมเด็จพระมิ่งมงกุฎทีปังกรพุทธเจ้า
บางคราวเกิดเป็นมนุษย์ทั้งสองก็ต้องเป็นคู่สามีภริยากัน แม้บางคราวจะเกิดในกำเนิดสัตว์เดียรฉาน ก็ได้เป็นคู่สู่สมภิรมย์รักไม่พรากจากกันไป ตลอดกาลอันแสนจะยาวนานถึง ๔ อสงไขยกับเศษอีก ๑๐๐,๐๐๐ มหากัป นี้
ชาติสุดท้าย สุเมธฤาษีและสุมิตตากุมารี บุรุษสตรีซึ่งเป็นสามีภรรยาคู่สร้างกันมาแต่ปางบรรพ์ สุดจะนับประมาณชาติที่เกิดได้นั้น ต่างก็พากันมาบังเกิดในมนุษยโลกเรานี้ โดยสุเมธฤาษีได้มาอุบัติในขัตติยะตระกูล ณ กรุงกบิลพัสดุ์บุรี ทรงพระนามว่า เจ้าฟ้าชายอังคีรสราชกุมาร หรืออีกพระนามหนึ่งว่า เจ้าชายสิทธัตถะราชกุมาร
ส่วนสุมิตตากุมารีสาวโสภาแห่งปัจจันตคาม ได้มาบังเกิดในขัตติยะตระกูล ณ กรุงเทวทหนคร ได้เป็นเอกอัครมเหสีของเจ้าชายสิทธัตถะราชกุมาร แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระพิมพายโสธราเทวี
เสด็จโปรดพระญาติ แต่พระนางยโสธรา ไม่ยอมมาฟังธรรมเพราะน้อยใจ
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทราบว่า พระนางพิมพาเป็นคู่บารมีกันมาตั้งแต่ต้นจนอวสาน การแสดงพระธรรมเทศนาโปรดหมู่พระประยูรญาติ ปรากฏว่าพระนางพิมพาไม่ยอมไปฟังเทศน์ มีคนไปกราบทูลให้ทรงทราบพระนางก็ตรัสว่า
“ในเมื่อพระลูกเจ้าเสด็จมาถึงประเทศนี้แล้ว และองค์สมเด็จพระประทีปแก้วก็ทรงรู้จักตำหนักนี้ดี เคยอยู่มาก่อน ถ้าองค์สมเด็จพระชินวรไม่เสด็จมาโปรดเราถึงที่ เราก็ไม่ไป”
เพราะอาศัยน้ำใจที่พระนางมีความรัก ทำทุกสิ่งทุกอย่างที่พระพุทธเจ้า พระนางก็เกิดการน้อยใจว่า ตำหนักนี้เคยอยู่ ทำไมองค์สมเด็จพระบรมครูจึงไม่มาเทศน์โปรดสอนเราถึงตำหนัก เมื่อท่านไม่มาเราก็ไม่ไป
องค์สมเด็จพระบรมศาสดาทรงรู้ จึงทรงตั้งใจไปโปรดพระนางพิมพาถึงตำหนัก การไปคราวนี้ พระนางพิมพาอาศัยที่มีความรักความอาลัยอยู่เดิม จะเข้ามากอดที่ขาของพระองค์แล้วก็พร่ำรำพันถึงความทุกข์และความรักในอดีต เป็นอันว่าผลที่ติดตามมาถึงสี่อสงไขยกับแสนกัปจะไม่เกิดผล
เพราะจิตใจของตถาคตไม่มีกิเลสแล้ว จึงได้ทรงชวนพระโมคคัลลาน์และพระสารีบุตร ๒ ท่านไปด้วย คือให้ทั้งสองท่านรับทราบไว้ด้วย จะได้ช่วยแก้ความเข้าใจผิดของคนต่อภายหลัง ขณะที่เดินไปจึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า
“พระสารีบุตร และ พระโมคคัลลาน์ ถ้าเข้าไปในตำหนักของพระนางพิมพาแล้ว ถ้าพระนางพิมพาจะมากอดขาตถาตค ขอเธอทั้งสองจงอย่าห้าม และขอเธอจงเข้าใจว่า เวลานี้จิตใจของตถาคต ไม่มีอะไรแล้ว แต่ทว่ามีความห่วงใยในพระนางพิมพา ถ้าเธอทั้งสองห้าม เธอจะอกแตกตาย เพราะการบำเพ็ญบารมีมาในกาลก่อน เธอไม่ได้ทำเอง มีหน้าที่อย่างเดียวคือโมทนาความดีที่ตถาคตทำ ฉะนั้นการบรรลุมรรคผลของพระนางพิมพาจึงต้องเนื่องด้วยตถาคต จะหาทางช่วยตนเองให้บรรลุมรรคผลนั้นย่อมเป็นไปไม่ได้”
กล่าวถึงสมเด็จพระนางพิมพาราชเทวี ซึ่งทรงคุณวิเศษในพระพุทธศาสนาเป็นพระโสดาบันอริยบุคคล และทรงเป็นพระราชชนนีของพระราหุลอรหันต์ วันหนึ่งพระนาง
ทรงเห็นคุณแห่งบรรพชา จึงเสด็จ พานางศักยราชนารีกับทั้งบริวารเสด็จคมนาการออกจากรุงกบิลพัสดุ์ไปสู่เมืองสาวัตถี ครั้งถึงจึงกราบสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทูลขอบรรพชา ก็ทรงพระกรุณาโปรดประทานภิกษุณีอุปสมบทกรรมด้วยอัฏฐครุธรรม ๘ ประการ พร้อมกับนารีที่เป็นบริวารสมตามความปรารถนา
รับกรรมฐานจากพระพุทธเจ้าและเจริญวิปัสสนายังไม่ทันถึง ๑๕ วัน ก็บรรลุพระอรหัต พระนางเป็นผู้ช่ำชองชำนาญในอภิญญาทั้งหลายระลึกชาติได้ถึงอสงไขยหนึ่งยิ่งด้วยแสนกัป โดยการระลึกถึงเพียงครั้งเดียว
ภายหลัง พระศาสดาประทับนั่ง ณ พระเชตวันวิหาร เมื่อทรงสถาปนาพวก ภิกษุณีไว้ในตำแหน่งต่าง ๆ ตามลำดับ จึงทรงสถาปนาพระภัททากัจจานาเถรีไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะผู้เลิศกว่า ภิกษุณีทั้งหลายผู้ได้บรรลุอภิญญาใหญ่ คำว่า "ได้อภิญญาใหญ่" นั้น หมายถึงพระสาวกผู้ที่ได้อภิญญาและสามารถระลึกชาติได้อสงไขยหนึ่งกับอีกแสนกัป ในขณะที่พระสาวกผู้ที่มิได้อภิญญาใหญ่นั้นสามารถระลึกชาติได้ไม่เกินแสนกัปเท่านั้น
ในสมัยพระพุทธเจ้าองค์ใดพระองค์หนึ่งนั้น จะมีผู้ที่สำเร็จอภิญญาใหญ่ได้เพียง ๔ ท่านเท่านั้น ในสมัยของพระพุทธเจ้าของพวกเรานี้ ผู้ที่สำเร็จอภิญญาใหญ่ ๔ ท่านนั้นก็คือ คือ พระสารีบุตรเถระ พระมหาโมคคัลลานะเถระ พระพากุลเถระ และ พระนางภัททากัจจานาเถรี (พระนางยโสธราพิมพา) สามารถระลึกชาติได้ประมาณเท่านี้.
พระภัททากัจจานาเถรี หรือพระยโสธราเถรี ได้เข้านิพพานเมื่ออายุ ๗๘ พรรษา ก่อนพระพุทธเจ้า ๒ ปี
"กินเจไม่ได้บุญอย่างที่คิด กินเนื้อก็ไม่บาปอย่างที่เข้าใจ" สมเด็จพระญาณสังวรฯ
การกินเจ จริงๆไม่ได้บุญอธิบาย คือ เราไม่กินข้าวขาหมู แล้วคิด(จินตนาการ)
ว่า หมูจะไม่ถูกฆ่า เปรียบได้กับเรานั่งอยู่บ้านเฉยๆแล้วคิด(จินตนาการ) ว่า
เราไปช่วยสอนหนังสือคนอนาถา บุญที่เราไปสอนหนังสือคนอนาถานั้น ไม่มี
ไม่เกิด เพราะเรา นึกๆคิดๆไปเองไม่ได้ทำ ไม่ได้กระทำจริง ถ้าอยากได้บุญ
เราต้องช่วยชีวิตสัตว์ มี ๒ ข้อ คือ
๑.ช่วยชีวิตมันโดยการไถ่ชีวิต ซื้อสัตว์ที่กำลังถูกฆ่านำมาปล่อย
๒.เมตตาสัตว์ไม่ทำร้ายมัน อย่างนี้เป็นบุญ
แต่การกินเจ บุญไม่เกิด เพราะเราไม่ได้ลงมือกระทำจริง(ช่วยชีวิตสัตว์) เป็นเพียงแต่คิดไปเอง
พระเทวทัตเคย มาเสนอให้ชาวพุทธไม่กินเนื้อสัตว์พระพุทธเจ้าปฏิเสธ พร้อมให้เหตุผลว่า
๑. เนื้อสัตว์ไม่ใช่ของเหม็น อกุศลกรรมต่างหากที่เป็นของเหม็น
๒. พระต้อง ควรเป็นผู้เลี้ยงง่าย
๓. อนุญาตในการกินเนื้อสัตว์ที่ -ไม่เห็น -ไม่รู้ -ไม่ใช่เนื้อที่ฆ่าโดยเฉพาะให้ตน
๔. อาหารเป็นแค่ของเลี้ยงกายไม่ให้ตาย อย่าสนใจมาก
การกินเนื้อสัตว์ บาป หรือ ไม่ ?
การที่จะวินิจฉัยว่าบาปหรือไม่บาปนั้น ต้องพิจารณาว่า การกินเนื้อสัตว์ที่ตายแล้ว เป็นการผิดศีลข้อปาณาติบาต หรือไม่ ศีลข้อปาณาติบาต คือ งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ นั้นจะผิดศีลก็ต่อเมื่อประกอบด้วย องค์ ๕ คือ
๑. ปาโณ สัตว์มีชีวิต
๒. ปาณสญฺญิตา รู้ว่าสัตว์มีชีวิต
๓. วธกจิตฺตํ จิตคิดจะฆ่า
๔. อุปกฺกโม พยายามที่จะฆ่า
๕. เตนมรณํ สัตว์ตายด้วยความพยายามนั้น
เมื่อครบองค์ประกอบทั้ง ๕ ข้อ จึงถือว่าเป็นการฆ่าสัตว์ ผิดศีลข้อที่ ๑ เป็นบาป แต่ถ้าไม่ได้ลงมือฆ่าเอง และไม่ได้ใช้ให้ผู้อื่นฆ่า ก็ไม่เป็นบาป ตัวอย่าง เราไปจ่ายตลาด ซื้อกุ้งแห้ง ปลาดุกย่าง ปลาทู เนื้อหมู ฯลฯ เราได้มีส่วนร่วมในการฆ่าสัตว์เหล่านั้นหรือไม่ สัตว์เหล่านั้นย่อมตายก่อนที่เราจะไปซื้อมาเป็นอาหาร ถึงเราจะซื้อหรือไม่ซื้อ สัตว์เหล่านั้นก็ตายอยู่แล้ว เราไม่ได้มีส่วนทำให้ตาย
๑.ช่วยชีวิตมันโดยการไถ่ชีวิต ซื้อสัตว์ที่กำลังถูกฆ่านำมาปล่อย
๒.เมตตาสัตว์ไม่ทำร้ายมัน อย่างนี้เป็นบุญ
แต่การกินเจ บุญไม่เกิด เพราะเราไม่ได้ลงมือกระทำจริง(ช่วยชีวิตสัตว์) เป็นเพียงแต่คิดไปเอง
พระเทวทัตเคย มาเสนอให้ชาวพุทธไม่กินเนื้อสัตว์พระพุทธเจ้าปฏิเสธ พร้อมให้เหตุผลว่า
๑. เนื้อสัตว์ไม่ใช่ของเหม็น อกุศลกรรมต่างหากที่เป็นของเหม็น
๒. พระต้อง ควรเป็นผู้เลี้ยงง่าย
๓. อนุญาตในการกินเนื้อสัตว์ที่ -ไม่เห็น -ไม่รู้ -ไม่ใช่เนื้อที่ฆ่าโดยเฉพาะให้ตน
๔. อาหารเป็นแค่ของเลี้ยงกายไม่ให้ตาย อย่าสนใจมาก
การกินเนื้อสัตว์ บาป หรือ ไม่ ?
การที่จะวินิจฉัยว่าบาปหรือไม่บาปนั้น ต้องพิจารณาว่า การกินเนื้อสัตว์ที่ตายแล้ว เป็นการผิดศีลข้อปาณาติบาต หรือไม่ ศีลข้อปาณาติบาต คือ งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ นั้นจะผิดศีลก็ต่อเมื่อประกอบด้วย องค์ ๕ คือ
๑. ปาโณ สัตว์มีชีวิต
๒. ปาณสญฺญิตา รู้ว่าสัตว์มีชีวิต
๓. วธกจิตฺตํ จิตคิดจะฆ่า
๔. อุปกฺกโม พยายามที่จะฆ่า
๕. เตนมรณํ สัตว์ตายด้วยความพยายามนั้น
เมื่อครบองค์ประกอบทั้ง ๕ ข้อ จึงถือว่าเป็นการฆ่าสัตว์ ผิดศีลข้อที่ ๑ เป็นบาป แต่ถ้าไม่ได้ลงมือฆ่าเอง และไม่ได้ใช้ให้ผู้อื่นฆ่า ก็ไม่เป็นบาป ตัวอย่าง เราไปจ่ายตลาด ซื้อกุ้งแห้ง ปลาดุกย่าง ปลาทู เนื้อหมู ฯลฯ เราได้มีส่วนร่วมในการฆ่าสัตว์เหล่านั้นหรือไม่ สัตว์เหล่านั้นย่อมตายก่อนที่เราจะไปซื้อมาเป็นอาหาร ถึงเราจะซื้อหรือไม่ซื้อ สัตว์เหล่านั้นก็ตายอยู่แล้ว เราไม่ได้มีส่วนทำให้ตาย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)